สาระสำคัญ
1) มาตรฐานอุปกรณ์สำหรับงานประดาน้ำ ได้แก่
- มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐานกระทรวงคมนาคมของสหรัฐอเมริกา ภายใต้หน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (United States Department of Transportation : DOT)
- มาตรฐานส้านักงานคณะกรรมการคมนาคมของประเทศแคนาดา (Canadian Transportation Commission : CTC)
- มาตรฐานขององค์การมาตรฐานสากล (International Organization for Standardization: ISO)
- มาตรฐานสหภาพยุโรป (European Standards : EN)
- มาตรฐานประเทศออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์ (Australia
Standards/New Zealand Standards : AS/NZS)
- มาตรฐานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute : ANSI)
- มาตรฐานแห่งชาติจีนและมาตรฐานแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) (Chinese National Standard/The National Standards of theRepublic of China (Taiwan) : CNS)
- มาตรฐานประเทศอังกฤษ (British Standard : BS)
- มาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศเยอรมัน (German Industrial Standard : DIN)
- มาตรฐานประเทศมาเลเซีย (Malaysian Standard : MS)
- มาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standards : JIS)
- มาตรฐานแห่งชาติเกาหลี (Korean National Standard : KS)
2) อุปกรณ์ทางการแพทย์ส้าหรับการดูแลรักษาลูกจ้างที่ท้างานประดาน้ำ ตามแนวทางการรักษาของหน่วยงานแพทย์เวชศาสตร์ใต้น้ำ หรือแพทย์เวชศาสตร์ทางทะเลของประเทศไทย อย่างน้อยต้องเป็นไปตามที่มาตรฐานกำหนด
3) ต้องมีการควบคุมและดูแลให้มีการสวมใส่อุปกรณ์สำหรับงานประดาน้ำที่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด ตลอดระยะเวลาในการทำงานประดาน้ำ
ศึกษากฎหมายฉบับเต็ม ตามไฟล์แนบท้ายนี้
![]() |
ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
โทร.: 0 2218 5222, 09 9132 6622 (ในวันและเวลาราชการ) 09 9132 6622 (เฉพาะกรณีฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง) | |
อีเมล: shecu@chula.ac.th |
จำนวนผู้เข้าชม | |||
|
|||
12 ตุลาคม 2562 |