ChemTrack&WasteTrack2016
40,202 views    
    [14 ธ.ค. 61]    

          “โปรแกรมการจัดการข้อมูลสารเคมีและของเสียสารเคมี” ที่มีระบบการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูลออนไลน์สามารถติดตามปริมาณสารเคมีที่นําเข้า ปริมาณคงเหลือ สถานที่เก็บ ค่าใช้จ่าย ตลอดจนข้อมูลด้านความปลอดภัยของสารเคมี และนอกจากนี้สามารถติดตามข้อมูลปริมาณของเสียสารเคมี และค่าใช้จ่ายในการกำจัด ได้อย่างเป็นระบบ มีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ"


     

   



นิสิตที่ทำปฏิบัติการและต้องการขอการรับรอง เพื่อเบิกทุน จะต้องดำเนินการตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

กลุ่มที่ 1 : นิสิตที่ทำปฏิบัติการภายในจุฬาฯ  จะต้องดำเนินการดังนี้

         

 

กลุ่มที่ 2 : นิสิตต่างชาติที่ทำปฏิบัติการภายในจุฬาฯ  ต้องอบรมหลักสูตร Chemical Safety Training for Research Students and Researchers (For foreigners and international programs) และนำวุฒิบัตรที่ได้รับจากการอบรมฯ ยื่นให้กับบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ


กลุ่มที่ 3 : นิสิตที่ทำปฏิบัติการภายนอกจุฬาฯ   ให้อาจารย์ที่ปรึกษาส่งบันทึกข้อความยืนยันการทำปฏิบัติการภายนอกจุฬาฯ ถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ


คู่มือการใช้โปรแกรมการจัดการข้อมูลสารเคมีและของเสียสารเคมี (ChemTrack&WasteTrack 2016)

แนวปฏิบัติการจัดการของเสียสารเคมี

การจําแนกของเสียสารเคมี 17 ประเภท ตามข้อกำหนดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉลากติดภาชนะของเสียสารเคมี

Chemical Waste Labels

ตารางรอบจัดเก็บของเสียสารเคมี ปีงบประมาณ 2567

Schedule a Hazardous Chemical Waste Pick-ups by SHECU in the fiscal year 2024

ข้อมูลบริษัทรับกำจัดของเสีย

แบบฟอร์มสมัครใช้งานโปรแกรม ChemTrack&WasteTrack2016

แบบฟอร์มขอการรับรอง เพื่อเบิกทุน

แบบฟอร์มแจ้งขอภาชนะเปล่าบรรจุของเสียสารเคมี

Request Form for Obtaining free PE Containers through the Wastetrack Program

แบบฟอร์มแจ้งส่งกำจัดขวดสารเคมีเปล่าจากห้องปฏิบัติการ

Request Form for Pickup of Empty Hazardous Chemical Lab Containers through the Wastetrack Program

แบบฟอร์มแจ้งส่งขยะยาที่ไม่ใช้แล้ว/หมดอายุ

ตัวอย่างบันทึกขอส่งท่อแก๊สที่ไม่ได้ใช้งาน