หลักสูตรอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (หลักสูตรฟื้นฟู) รุ่นที่ 2 (รูปแบบออนไลน์)


***ปิดรับลงทะเบียนอบรมแล้ว***


สำคัญ !!! 

***ผู้มีสิทธิ์เข้าอบบรมติดตามรับอุปกรณ์ที่ผู้จัดอบรมส่งให้ทางไปรษณีย์ เข้ากลุ่มไลน์ (QR code เข้ากลุ่มไลน์อยู่ในถุงอุปกรณ์) และทดสอบระบบตามกำหนดเวลา (รายละเอียดแจ้งในกลุ่มไลน์)***


การแจ้งที่อยู่สำหรับส่งอุปกรณ์

หลังจากลงทะเบียนแล้ว ขอให้แจ้งที่อยู่สำหรับส่งอุปกรณ์สำหรับภาคปฏิบัติทางไปรษณีย์ที่ลิงก์ด้านล่าง (ผู้ที่มีเวลาเรียนไม่พอหรือไม่ส่งงานภาคปฏิบัติจะไม่ได้รับสิทธิ์เข้าสอบหลังอบรม)

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdOYnpsVhRO4kT4V1WA_f-Y2YR1iC1VQCtv9MugtzrxrpfnCQ/viewform



 

ประกาศ

- หลักฐานผ่านการอบรมที่ได้จากหลักสูตรอบรมนี้สามารถใช้ประกอบการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยด้านความปลอดภัยทางชีวภาพกับ IBC ประจำส่วนงานหรือ CU-IBC ได้

- หลักฐานผ่านการอบรมที่ได้รับจากหลักสูตรอบรมนี้ “ไม่” สามารถใช้เป็น “หลักฐานการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity)” สำหรับการขอ/ต่ออายุหนังสือรับรองการแจ้ง/ใบอนุญาตเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ได้

 

เงื่อนไข

- ขอสงวนสิทธิ์สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาและบุคลากร จุฬาฯ  ที่เคยอบรมหลักสูตรอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพแล้วและหลักฐานผ่านการอบรมหมดอายุหรือใกล้หมดอายุ

- ผู้ประสงค์เข้าอบรมต้องมีบัญชี CUNET ห้ามใช้บัญชี CUNET ของผู้อื่น หากตรวจสอบพบจะถูกตัดสิทธิ์เข้าอบรม

- ผู้ประสงค์เข้าอบรมต้องตรวจสอบรายชื่อผู้สมัคร รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม และรายชื่อผู้ผ่านการอบรมที่หน้าเว็บไซต์ ศปอส. เมนูอบรม/สัมมนา

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมแต่ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ต้องแจ้งกลับมาที่คุณวันวิสา สุดสมัย ทางอีเมล Wanwisa.Su@chula.ac.th ภายในวันที่ 15 พ.ย. 64 โดยจะมีอีเมลตอบกลับภายใน 1 วันทำการ หากไม่แจ้งจะถูกตัดสิทธิ์การเข้าอบรมหลักสูตรนี้ทั้งแบบออนไลน์และแบบปกติในรุ่นสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาและบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในครั้งถัดไป

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบบรมต้องติดตามรับอุปกรณ์สำหรับใช้ในการอบรมภาคปฏิบัติ (PPE และ Spill kit) ที่ผู้จัดอบรมส่งให้ทางไปรษณีย์

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมต้องเตรียมอุปกรณ์ที่สามารถเข้าโปรแกรม Zoom และสามารถเปิดกล้องได้ และอุปกรณ์สำหรับสแกน QR code เพื่อเช็คชื่อ ถ่ายภาพในช่วงอบรมภาคปฏิบัติ และใช้ส่งภาพถ่าย

- ผู้เข้ารับการอบรมต้องเปิดกล้องในขณะทำการสอบหลังอบรม

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมต้องเตรียมพื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร สำหรับฝึกปฏิบัติการ

- ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับหลักฐานผ่านการอบรมเมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนก่อนอบรม ขณะอบรม และหลังอบรมดังด้านล่าง ผู้ที่มีเวลาเรียนไม่พอหรือไม่ส่งงานภาคปฏิบัติจะไม่ได้รับสิทธิ์เข้าสอบหลังอบรม ทั้งนี้ หากมีปัญหาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอนกรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ภายในวันและช่องทางที่กำหนด

 

ขั้นตอนก่อนการอบรม

- ลงทะเบียนถึงวันที่ 12 พ.ย. 64 (ขยายเวลาครั้งสุดท้าย) (หรือปิดรับลงทะเบียนเมื่อมีผู้ลงทะเบียนครบ 240 คน) (จัดอบรมเมื่อมีผู้สมัครขั้นต่ำ 50 คน)

 (ไม่เสียค่าใช่จ่าย)

- การลงทะเบียนและการเข้าอบรมออนไลน์ต้องใช้ Username และ Password ของบัญชี CUNET ในการเข้าสู่ระบบ กรณีไม่มีบัญชี CUNET สามารถขอได้ที่ https://www.it.chula.ac.th/service/cunet/

- ตรวจสอบรายชื่อผู้ลงทะเบียนสำเร็จที่เมนู “รายชื่อผู้สมัคร” ทันทีที่ลงทะเบียนเสร็จ และตรวจสอบรายชื่อผู้ได้รับสิทธิ์เข้าอบรมที่เมนู “รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม” ในวันที่ 15 พ.ย. 64 ตั้งแต่เวลา 13.00 น.

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบบรมติดตามรับอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรมภาคปฏิบัติ (PPE และ Spill kit) ที่จัดส่งให้ทางไปรษณีย์หลังวันที่ 29 พ.ย. 64

- หลังได้รับอุปกรณ์สำหรับฝึกอบรมภาคปฏิบัติการขอให้ผู้เข้ารับการอบรมสแกน QR code เข้ากลุ่มไลน์ (QR code แจ้งไปพร้อมกับอุปกรณ์สำหรับฝึกอบรมภาคปฏิบัติการ) เพื่อรับข่าวสารการอบรมและเป็นช่องการการติดต่อตลอดการอบรม

- เข้าทดสอบระบบภายในวันที่ 13-14 ธ.ค. 64 (แจ้งขั้นตอนการทดสอบระบบในกลุ่มไลน์) หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อคุณวันวิสา สุดสมัย (โทร 0 2218 5222 และ 09 9132 6622) ภายในวันที่ 14 ธ.ค. 64

 

ขั้นตอนขณะอบรม

- ภาคบรรยายเป็นการเรียนด้วยตนเองผ่าน Moodle ในวันที่ 1 พ.ย. – 16 ธ.ค. 64 (ผู้ลงทะเบียนรอบขยายเวลาครั้งสุดท้าย เริ่มเรียนวันที่ 15 พ.ย. - 16 ธ.ค. 64) (ต้องกดยืนยันใน Moodle เพื่อแสดงว่าได้เรียนภาคบรรยายแล้วจึงจะเรียนภาคปฏิบัติได้) ส่วนภาคปฏิบัติเป็นการเรียนผ่าน Zoom ในวันที่ 17 ธ.ค. 64 (โดยลิงก์ Zoom อยู่ใน Moodle)

- ในหน้ารายละเอียดการอบรม เลือก SHECU Moodle จากนั้นเลือกหลักสูตรอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (หลักสูตรฟื้นฟู) รุ่นที่ 2 (รูปแบบออนไลน์) ด้วยบัญชี CUNET (พิมพ์ Username และ Password ด้วยตัวอักษรตัวเล็กทั้งหมด)

- เข้าลิงก์ห้องอบรม Zoom ที่แสดงใน SHECU Moodle โดยห้องอบรม Zoom เปิดตั้งแต่เวลา 8.00 น. ขอให้ตั้งชื่อผู้ใช้งานด้วยชื่อและนามสกุลของผู้เข้าอบรมเป็นภาษาไทย

- ไม่อนุญาตให้คัดลอกและส่งต่อลิงก์ห้องอบรม Zoom ให้ผู้อื่น

- การสอบหลังอบรมต้องเปิดกล้อง

 

ขั้นตอนหลังการอบรม

- ดาวน์โหลดหลักฐานผ่านการอบรมที่ Moodle หรือที่เว็บไซต์ ศปอส. ตรงระบบผู้ใช้งานหลังสอบผ่าน (ขั้นตอน คลิก)

 

กำหนดการฝึกอบรม




***เลขหน้าชื่อที่เมนูนี้ "ไม่ใช่" เลขประจำตัว โปรดตรวจสอบเลขประจำตัวที่เมนู "รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม"***

1. อ.ดร.นพ.กนก พฤฒิวทัญญู ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
2. กิติพงศ์ อัศตรกุล ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
3. นายเกียรติศักดิ์ ดวงมาลย์ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
4. จุฑามาศ ชัยวนนท์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
5. จุฬาลักษณ์ พรมรังษี ชีวเวชศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. ฉัตรชัย เชาว์ธรรม ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์
7. ญาดา อัจจิมาธร จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
8. ณัฐธนา ทองสิมา ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
9. ณัฐธยาน์ ช่วยเพ็ญ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์
10. ธีระภัทร์ สุริแสง ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
11. นายนวฤทธิ์ จิตสมัย ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
12. นางสาวน้ำทิพย์ วิทยะวาณิชกุล ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์
13. นางสาวปณยา คชพลาย ฝ่ายวิชาการและวิจัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
14. พรหมภัคกร กุลธนอมรดิษฐ์ ชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
15. เพราพิลาศ อินตะยศ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
16. นางสาววัชรี จาดไร่ขิง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
17. ศรีวตาภรณ์ ส.สุวรรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
18. ผศ.ดร.ศุภอรรจ ศิริกันทรมาศ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์
19. สกล สุนันทราภรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
20. นายสราวุธ มูลจันที ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์
21. นางสาวอัศชณา ถิรพัทธนันท์ รพ. จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
22. อุบลรัตน์ สิริภัทราวรรณ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์

1. อ.ดร.นพ.กนก พฤฒิวทัญญู ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
2. กิติพงศ์ อัศตรกุล ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
3. นายเกียรติศักดิ์ ดวงมาลย์ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
4. จุฑามาศ ชัยวนนท์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
5. จุฬาลักษณ์ พรมรังษี ชีวเวชศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. ฉัตรชัย เชาว์ธรรม ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์
7. ณัฐธนา ทองสิมา ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
8. ธีระภัทร์ สุริแสง ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
9. นายนวฤทธิ์ จิตสมัย ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
10. นางสาวปณยา คชพลาย ฝ่ายวิชาการและวิจัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
11. พรหมภัคกร กุลธนอมรดิษฐ์ ชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
12. เพราพิลาศ อินตะยศ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
13. นางสาววัชรี จาดไร่ขิง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
14. ศรีวตาภรณ์ ส.สุวรรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
15. ผศ.ดร.ศุภอรรจ ศิริกันทรมาศ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์
16. สกล สุนันทราภรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
17. นางสาวอัศชณา ถิรพัทธนันท์ รพ. จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

1. อ.ดร.นพ.กนก พฤฒิวทัญญู ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
2. กิติพงศ์ อัศตรกุล ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
3. นายเกียรติศักดิ์ ดวงมาลย์ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
4. จุฑามาศ ชัยวนนท์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
5. จุฬาลักษณ์ พรมรังษี ชีวเวชศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. ฉัตรชัย เชาว์ธรรม ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์
7. ณัฐธนา ทองสิมา ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
8. นายนวฤทธิ์ จิตสมัย ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย
9. นางสาวปณยา คชพลาย ฝ่ายวิชาการและวิจัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
10. พรหมภัคกร กุลธนอมรดิษฐ์ ชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
11. เพราพิลาศ อินตะยศ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
12. นางสาววัชรี จาดไร่ขิง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
13. ศรีวตาภรณ์ ส.สุวรรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
14. ผศ.ดร.ศุภอรรจ ศิริกันทรมาศ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์
15. สกล สุนันทราภรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
16. นางสาวอัศชณา ถิรพัทธนันท์ รพ. จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย