หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ สำหรับ ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน รุ่นที่ 1/2565 (สำหรับบุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

การทำงานในที่อับอากาศนับว่าเป็นสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอุบัติเหตุในระหว่างการทำงาน ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพย์สินเสียหาย ตลอดจนประชาชนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียงได้รับอันตรายได้ ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในที่อับอากาศทุกตำแหน่งหน้าที่จึงต้องได้รับการฝึกอบรม อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน อีกทั้งยังส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ และสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการได้ปฏิบัติให้สอดคล้องตามที่กฎหมายประกาศกำหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง


วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้นายจ้างได้ปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562

2. เพื่อให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งของนายจ้าง ได้รับการฝึกอบรมตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ปี 2564

3. เพื่อให้ลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในที่อับอากาศทุกตำแหน่งหน้าที่ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการฝึกปฏิบัติในแต่ละบทบาทหน้าที่ และมีความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ


วิทยากรบรรยาย อาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงกำหนดฯ

  • อาจารย์สุรเชษฐ์ สีงาม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานวิชาชีพ
  • อาจารย์ประสงค์ แถวเนิน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานวิชาชีพ
  • อาจารย์ยูซุป แก้วขันทอง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานวิชาชีพ
  • อาจารย์มานพ ขยันการนา ดับเพลิงและกู้ภัย ชำนาญการ สป.กทม.


จำนวนผู้เข้าอบรม

            ไม่เกิน 30 คน ต่อรุ่น


วันและเวลา และสถานที่การจัดอบรม

 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2565 เวลา 08.30-16.30 น. จำนวน 4 วันต่อเนื่อง (รวมเวลาอบรมทั้งหมด 24 ชั่วโมง)

สถานที่ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หมายเหตุ : วัน เวลา และสถานที่ เปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19


วิธีการฝึกอบรม

การบรรยาย, กรณีศึกษาจากวีดีทัศน์, กิจกรรมกลุ่มย่อย, ภาคปฏิบัติ


คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม /กลุ่มเป้าหมาย

1) อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์

2) เป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม และ

3) เป็นผู้ที่ผ่านการอบรม "หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น" ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับอัคคีภัย

สำหรับท่านที่ยังไม่ผ่านการอบรม "หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น" สามารถลงทะเบียนเข้าอบรม หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้นได้ คลิกที่นี่


หลักฐานการสมัคร

1) ใบรับรองแพทย์ที่ระบุว่าท่านเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม 

โปรดเตรียมหลักฐานใบรับรองแพทย์ที่ระบุว่าท่านเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ใบรับรองแพทย์ต้องมีอายุไม่เกิน 6 เดือน นับจากวันที่ตรวจสุขภาพจนถึงวันอบรม)


ตัวอย่างใบรับรองแพทย์ 

แหล่งที่มา https://www.facebook.com/OCCMedSaraburiHospital/posts/477190236184801/


2) วุฒิบัตรที่ระบุการผ่านการอบรม "หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น" ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับอัคคีภัย

โปรดเตรียมหลักฐานวุฒิบัตรว่าท่านได้ผ่านการฝึกอบรมดับเพลิงขั้นต้น หรือหลักฐานการสมัครอบรมดับเพลิงขั้นต้น เช่น ภาพรายชื่อผู้สมัคร จากหน่วยงานใดๆ ก็ตาม ที่ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กรณีผู้ที่ยังไม่ได้รับใบวุฒิบัตรการฝึกอบรมดับเพลิงขั้นต้น ท่านต้องส่งสำเนาวุฒิบัตรการอบรมดับเพลิงขั้นต้น มาที่อีเมล shecu@chula.ac.th ภายในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565)


ตัวอย่าง วุฒิบัตรที่ระบุการผ่านการอบรม "หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น"



กำหนดการอบรม

วัน/เวลา

รายวิชา/เนื้อหา

จำนวนเวลา

วันที่ 1 : 28 กุมภาพันธ์ 2565
08.30 – 09.00 น.
ลงทะเบียน /ชี้แจงการฝึกอบรม ทำแบบทดสอบก่อนอบรม (Pre-Test)

30 นาที

09.00 – 10.00 น.
ภาคทฤษฎี
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

1 ชม.

10.00 – 10.30 น.
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ

30 นาที

10.30 – 10.45 น.
พักเบรค

15 นาที

10.45 – 11.15 น.
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ (ต่อ)

30 นาที

11.15 – 12.15 น.
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ

1 ชม.

12.15 – 13.15 น.
พักกลางวัน

1 ชม.

13.15 – 14.15 น.
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย

1 ชม.

14.15 – 15.15 น.
(จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ

1 ชม.

15.15 – 15.30 น.
 พักเบรค

15 นาที

15.30 – 16.00 น.
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย

30 นาที

16.00 – 16.30 น.
(ช) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ

30 นาที

วันที่ 2 : 1 มีนาคม 2565
08.30 – 09.00 น.
ลงทะเบียน

15 นาที

09.00 – 10.00 น.
(ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ

1 ชม.

10.00 – 10.30 น.
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือระบายอากาศในที่อับอากาศ

 30 นาที

10.30 - 10.45 น.
พักเบรค

15 นาที

10.45 – 11.15 น.
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือระบายอากาศในที่อับอากาศ (ต่อ)

30 นาที

11.15 – 11.45 น.
(ญ) การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว

30 นาที

11.45 – 12.15 น.
(ฎ) การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ

30 นาที

12.15 – 13.15 น.
พักกลางวัน

1 ชม.

13.15 – 14.15 น.
(ฏ) อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย

1 ชม.

14.15 – 15.15 น.
(ฐ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต

1 ชม.

15.15 – 15.30 น.
พักเบรค

15 นาที

15.30 – 16.30 น.
(ฑ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)

1 ชม.

วันที่ 3 : 2 มีนาคม 2565
08.30 – 09.00 น.
ลงทะเบียน

15 นาที

09.00 – 10.00 น.
(ฑ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)

1 ชม.

10.00 – 10.30 น.
(ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย

30 นาที

10.30 – 10.45 น.
พักเบรค

15 นาที

10.45 – 11.15 น.
(ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย (ต่อ)

30 นาที

11.15 – 12.15 น.
(ณ) การควบคุมดูแลการใช้เครื่องป้องกันและคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

1 ชม.

12.15 – 13.15 น.
พักกลางวัน

1 ชม.

13.15 – 14.15 น.
ภาคปฏิบัติ
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ

1 ชม.

14.15 -15.15 น.
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ

1 ชม.

15.15 – 15.30 น.
พักเบรค

15 นาที

15.30 – 16.30 น.
(ค) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต

1 ชม.

วันที่ 4 : 3 มีนาคม 2565
08.30 – 09.00 น.
ลงทะเบียน

15 นาที

09.00 – 09.30 น.
(ง) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ

30 นาที

09.30 – 10.30 น.
(จ) การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร

1 ชม.

10.30 – 10.45 น.
พักเบรค

15 นาที

10.45 – 11.30 น.
(ฉ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ

45 นาที

11.30 – 12.15 น.
(ช) การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ

45 นาที

12.15 – 13.15 น.
พักกลางวัน

1 ชม.

13.15 – 14.15 น.
(ซ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต

1 ชม.

14.15 – 15.15 น.
(ฌ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)

1 ชม.

15.15 – 15.30 น.
พักเบรค

15 นาที

15.30 – 16.30 น.
(ญ) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน

1 ชม.

16.30 – 17.00 น.
ทำแบบทดสอบ หลังการอบรม (Post-test)

30 นาที



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ดร.ภุชงค์ ศรีอ่วม โทร. 089-1522626 หรืออีเมล: puchong.s@chula.ac.th


คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม

1) อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์

2) เป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม และ

3) เป็นผู้ที่ผ่านการอบรม "หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น" ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับอัคคีภัย


1. นางสาวกรองทิพย์ ทิพวัฒน์ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
2. นายเกรียงศักดิ์ เชื้อตาเส็ง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
3. นางสาวขวัญนภัส สรโชติ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
4. นายคมสัน จันทิมากร ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
5. นายจตุพล กล้วยแดง ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาฯ ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. นายจิรพงษ์ สมสะอาด คณะอักษรศาสตร์ (out source)
7. นางสาวจุฑามาศ ทรัพย์ประดิษฐ์ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
8. ณัฏฐ์นภนต์ ศรีประโมทย์ อื่นๆ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย
9. เทอดชัย พระสุพันธุ์ งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
10. เทิดทูน ทองอาจ คณะแพทยศาสตร์
11. นายธนศักดิ์ ถำวาปี คณะอักษรศาสตร์ (out source)
12. ธมนณัฎฐ์ วานิชรัตน์ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
13. นายธีระ ทรัพย์ไพศาลกิจ ฝ่ายบริหาร สำนักงานวิทยทรัพยากร
14. นายนันทวัฒน์ สำราญรมย์ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
15. นางสาวนิภาพร กุลสุข ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
16. นายบัญชา ชูทรงเดช ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17. บุญจันทร์ ไชยกุมาร งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
18. ปัฐวี รอดท่าไม้ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
19. นางปิยวรรณ ตระกูลฤทธิ์ ฝ่ายบริหาร สำนักงานวิทยทรัพยากร
20. นายพรชัย ถิรชีวิน ฝ่ายบริหาร คณะนิติศาสตร์
21. พรชัย ร่วมญาติ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
22. นางสาวพีรดา สุนทระ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
23. นายภุชงค์ ศรีอ่วม ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
24. เลิศ พานไธสง งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
25. วรเวทย์ ทัศนาเอี่ยม ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
26. นางสาววันวิสา สุดสมัย ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
27. นายศรชัย จันทร์ต้น โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
28. นายศรัญญู ทองเหลือง คณะแพทยศาสตร์
29. ศุภมาส อติไพบูลย์ ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30. ว่าที่ร้อยตรีสมบูรณ์ แย่งคุณเชาว์ ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
31. สาธิต นาแซง คณะแพทยศาสตร์
32. สุพจน์ มะหัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
33. นายสุรชัย กาเกษ คณะอักษรศาสตร์ (out source)
34. อาทิตย์ หล้าเที่ยง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์

1. นางสาวกรองทิพย์ ทิพวัฒน์ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
2. นายเกรียงศักดิ์ เชื้อตาเส็ง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
3. นางสาวขวัญนภัส สรโชติ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
4. นายคมสัน จันทิมากร ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
5. นายจตุพล กล้วยแดง ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาฯ ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. นายจิรพงษ์ สมสะอาด คณะอักษรศาสตร์ (out source)
7. ณัฏฐ์นภนต์ ศรีประโมทย์ อื่นๆ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย
8. เทอดชัย พระสุพันธุ์ งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
9. เทิดทูน ทองอาจ คณะแพทยศาสตร์
10. นายธนศักดิ์ ถำวาปี คณะอักษรศาสตร์ (out source)
11. ธมนณัฎฐ์ วานิชรัตน์ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
12. นายนันทวัฒน์ สำราญรมย์ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
13. นางสาวนิภาพร กุลสุข ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
14. นายบัญชา ชูทรงเดช ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15. บุญจันทร์ ไชยกุมาร งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
16. ปัฐวี รอดท่าไม้ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
17. พรชัย ร่วมญาติ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
18. นางสาวพีรดา สุนทระ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
19. นายภุชงค์ ศรีอ่วม ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
20. เลิศ พานไธสง งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
21. วรเวทย์ ทัศนาเอี่ยม ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
22. นางสาววันวิสา สุดสมัย ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
23. นายศรชัย จันทร์ต้น โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
24. นายศรัญญู ทองเหลือง คณะแพทยศาสตร์
25. ศุภมาส อติไพบูลย์ ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26. ว่าที่ร้อยตรีสมบูรณ์ แย่งคุณเชาว์ ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
27. สาธิต นาแซง คณะแพทยศาสตร์
28. สุพจน์ มะหัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
29. นายสุรชัย กาเกษ คณะอักษรศาสตร์ (out source)
30. อาทิตย์ หล้าเที่ยง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์

1. นางสาวกรองทิพย์ ทิพวัฒน์ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
2. นายเกรียงศักดิ์ เชื้อตาเส็ง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
3. นางสาวขวัญนภัส สรโชติ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
4. นายคมสัน จันทิมากร ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
5. นายจตุพล กล้วยแดง ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาฯ ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. นายจิรพงษ์ สมสะอาด คณะอักษรศาสตร์ (out source)
7. ณัฏฐ์นภนต์ ศรีประโมทย์ อื่นๆ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย
8. เทอดชัย พระสุพันธุ์ งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
9. เทิดทูน ทองอาจ คณะแพทยศาสตร์
10. นายธนศักดิ์ ถำวาปี คณะอักษรศาสตร์ (out source)
11. ธมนณัฎฐ์ วานิชรัตน์ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
12. นายนันทวัฒน์ สำราญรมย์ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
13. นางสาวนิภาพร กุลสุข ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
14. นายบัญชา ชูทรงเดช ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15. บุญจันทร์ ไชยกุมาร งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
16. ปัฐวี รอดท่าไม้ ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
17. พรชัย ร่วมญาติ ฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์
18. นางสาวพีรดา สุนทระ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
19. นายภุชงค์ ศรีอ่วม ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
20. เลิศ พานไธสง งานบริหารระบบกายภาพ คณะแพทยศาสตร์
21. วรเวทย์ ทัศนาเอี่ยม ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์
22. นางสาววันวิสา สุดสมัย ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
23. นายศรชัย จันทร์ต้น โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์
24. นายศรัญญู ทองเหลือง คณะแพทยศาสตร์
25. ศุภมาส อติไพบูลย์ ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26. ว่าที่ร้อยตรีสมบูรณ์ แย่งคุณเชาว์ ฝ่ายบริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์
27. สาธิต นาแซง คณะแพทยศาสตร์
28. สุพจน์ มะหัย ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
29. นายสุรชัย กาเกษ คณะอักษรศาสตร์ (out source)
30. อาทิตย์ หล้าเที่ยง ฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์